PROTOZOA
(PROTO=แรก + ZOON = สัตว์)
- Kingdom
Protista
- unicellular microscopic organism
- acellular organism
- complete organism
ขนาด
- โดยทั่วไป 3-300 ไมโครมิเตอร์
- giant amoeba (Pelomyxa) ขนาดใหญ่ประมาณ 5 ม.ม. (1 ม.ม. = 100 ไมโครมิเตอร์)
- foraminiferans อยู่ในทะเล มีเปลือก ขนาดใหญ่ ประมาณ 50 ม.ม. (5 ซ.ม.)
โครงสร้างของเซลล์
- cell membrane / pellicle
semipermeable membrane
หน้าที่เทียบเท่ากับ integument บางชนิดมีเปลือก
- protoplasm
cytoplasm ไม่มีสี สีอยู่ใน granule เช่น Stentor caelureus
มี stentonin
มี oganelle เสริมเพื่อ function of life ได้แก่
1. plastid
2. food vacuole
3. contractile vacuole
ที่อยู่อาศัย
(habitat)
ความชื้นเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต
โภชนาการ
(nutrition)
- holophytic
chloroplast
chromoplast
leucoplast
chloroplast + chromoplast = chromatophore
- holozoic
ingestion digestion egestion
การกินอาหารเป็นแบบ phagocytosis (cell eating) ซึ่งมี 2
ลักษณะ คือ
1. engulfment
2. Invagination of cell membrane
ผลจากการกินอาหารจะเกิด food vacuole ภายในเซลล์ กากอาหารถ่ายออกจากเยื่อหุ้มเซลล์
- saprobic อาหารเป็นสารอินทรีย์ละลายน้ำ
1. diffusion หรือ active transport
2. pinocytosis (cell drinking)
การหมุนเวียน
(circulation)
cyclosis
การแลกเปลี่ยนแก๊ส
(gas exchange)
diffusion
การปรับสมดุลน้ำ
(osmoregulation)
contractile vacuole มีในโปรโตซัวน้ำจืดทุกชนิด ส่วนโปรโตซัวน้ำทะเลบางชนิดจะมีเช่นกัน
การขับถ่าย
(excretion)
nitrogenous waste
diffusion
การเคลื่อนที่
(locomotion)
locomotive organelles
1. pseudopodium
2. flagellum
3. cilia
การสืบพันธุ์
(reproduction)
asexual
- fission
binary fission
multiple fissiom (multiplication)
- budding
- encystment
sexual
- syngamy
macrogamete + microgamete
zygote (fertilize
eggs)
- conjugation
การจำแนกชนิด
(classification)
Phylum Protozoa
Subphylum Sarcomastigophora
Superclass Mastigophora
Class Phytomastigophora
Class Zoomastigophora
Superclass Opalina
Superclass Sarcodina
Subphylum Apicomplexa
Subphylum Myxosporsa
Subphylum Microspora
Subphylum Ciliophore
Class Ciliatea
Amoeba
proteus (Sarcodina)
- น้ำจืด น้ำกร่อย น้ำทะเล ดินชื้น มีมากในน้ำจืด
- cell membrane (plasmalemma) บางนุ่ม เซลล์ไม่คงตัว เปลี่ยนแปลงตามการยื่น
pseudopodium ออกไป
- cytoplasm แบ่งเป็น
- ectoplasm
- endoplasm
- โภชนาการ -ใช้ pseudopodium ในการ engulfment
- osmoregulation - contractile vacuole
- amoeboid movement เคลื่อนที่ด้วย pseudopodium โดยเกาะกับวัตถุ หรืออาจลอยตัวไปในน้ำ
- การสืบพันธุ์ - binary fission เกิดทุก 3 วัน
- encystment
- พฤติกรรม
- แสง
- อุณหภูมิ
- สารเคมี
- sarcodine อื่นๆ
naked amoeba
- Entamoeba histolytica
- Entamoeba coli
- Hydramoeba hydroxema
shell amoeba
- Arcella spp.
- Difflugiaspp.
- foraminiferans เปลือกเป็น calcium carbonate คืบคลานอยู่ตามพื้นท้องทะเลในที่ลึก
13,000 ฟุต ในมหาสมุทรแอตแลนติก ตะกอนที่ทับถมกันเป็นเลนเรียกว่า
forams ooze
- radiolarians มีโครงร่างภายในซึ่งส่วนใหญ่เป็น silicon บางชนิดเป็น
strontium sulfate ตะกอนโครงร่างทับถมอยู่ในที่ลึก 15,000 - 20,000
ฟุต ถ้าทับถมกันแน่นแข็งเป็นแผ่นเรียกว่า chert
forams ooze และ radiolarians ooze เป็นดัชนีชี้แหล่งน้ำมันในทะเล
เกาะบางเกาะที่เกิดจากการยกตัวขึ้นมาจากพื้นท้องทะเลจะปกคลุมด้วยเปลือกของ
forams
Euglena
(Phytomastigophora)
- ส่วนใหญ่อยู่ในน้ำจืด น้ำทะเลพบน้อย
- holophytic มืด saprobic คลอโรพลาสต์ สลายไป
แสง
สร้าง คลอโรฟิลล์ ใหม่ แต่ไม่สามารถสังเคราะห์แสง
- Bloom เกิดจาก phytomastigophora + algae
- ปรากฏการณ์น้ำเปลี่ยนสี (red tide) เกิดจาก dinoflagellate
ผลเสียที่เกิดขึ้น
1. สารพิษต่อระบบประสาท (neurotoxin)
2. ปลาตายเพราะขาดออกซิเจน และ เหงือกอุดตัน
3. เมื่อเซลล์ตาย เน่าเปื่อย เกิดฝ้าน้ำมันสีเหลืองหม่น เรียกว่า ขี้ปลาวาฬ
4. ชนิดที่มีพิษร้ายแรง คือ Gonyaulax และ Gymnodinium
- phytomastigophora อื่นๆ
1. Phacus (holophytic)
2. Volvox (holophytic)
3. dinoflagellates (holophytic)
4. Astasia (saprobic)
5. Peranema (holozoic)
Zoomastigophora
- Trypanosoma (parasite) - sleeping sickness
- Trichomonas (parasite) - โรคในระบบสืบพันธุ์ทั้งชายและหญิง
- Trichonympha (mutualism) - อาศัยในลำไส้ปลวก
Paramecium
caudatum (Ciliatea)
- เคลื่อนที่ด้วย cilia
- nucleus 2 ชนิด
1. macronucleus ควบคุมกิจกรรมของเซลล์
2. micronucleus มีหน้าที่ในการสืบพันธุ์
- transverse binary fission
- conjugation
ciliate อื่นๆ
- Didinium
- Coleps
- Spirostomum
- Metopus
- Dileptus
- Balantidium
Sporozoa
- ต้องการ host 2 ประเภท คือ
1. principle host (definite host)
2. intermediate host
- วัฏจักรชีวิตมี 3 ขั้นตอน
1. sporogony สร้าง sporozoite (n)
2. schizogony จาก zygote เพิ่มจำนวนเซลล์เป็น merozoite (n)
3. gamytogony สร้าง sex cell (n) หรือที่เรียกว่าแกมีต (gamete)
แกมีตที่เกิดการปฏิสนธิแล้ว คือ ไซโกต (zygote) มีโครโมโซมเป็น 2n
- Plasmodium ที่ก่อให้เกิดโรคไข้จับสั่น (malaria) ในคน
1. Plasmodium vivax จับไข้และหนาวสั่นทุก 48 ชม.
2. Plasmodium malariae จับไข้และหนาวสั่นทุก 72 ชม.
3. Plasmodium ovale จับไข้และหนาวสั่นทุก 48 ชม.
4. Plasmodium falciparum จับไข้และหนาวสั่นทุก 48
ชม.
- Plasmodium falciparum ไม่มีระยะในตับ ระบาดมากที่สุดประมาณร้อยละ
50 ของการระบาด ทำให้มีการตายมากที่สุด แต่รักษาให้หายขาดได้
- อาการไข้เกิดจาก RBC ที่มี Plasmodium อยู่ จะมีการเจริญและเพิ่มจำนวน
มีการสะสมของเสียที่เกิดจาก function of life เมื่อเพิ่มจำนวนถึงจุดๆ
หนึ่งจะทำให้เซลล์ host แตก ปล่อยของเสียออกมาในกระแสเลือดทำให้เกิดอาการไข้
ขณะเดียวกัน RBC ที่แตกพร้อมกันทำให้ร่างกายขาดออกซิเจนในการสร้างพลังงาน
จึงเกิดอาการหนาวสั่น
|